เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1091133    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเพิ่มคุณค่าทางอาหารของเยื่อในลำต้นสาคูเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ปีก โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์บางชนิด : รายงานการวิจัย / สมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข...(และคณะ).
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย.
Dewey Call #636.085 ส16ก
ผู้แต่งสมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข.
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
หัวเรื่องสัตว์ปีก--อาหาร.
 อาหารสัตว์.
 สาคู.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2542
ชื่อเรื่องการเพิ่มคุณค่าทางอาหารของเยื่อในลำต้นสาคูเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ปีก โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์บางชนิด : รายงานการวิจัย / สมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข...(และคณะ).
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย.
Dewey Call #636.085 ส16ก
ผู้แต่งสมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข.
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2542
Noteได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535.
Detailวิจัย.
หัวเรื่องสัตว์ปีก--อาหาร.
 อาหารสัตว์.
 สาคู.
ลักษณะทางกายภาพ33 หน้า :ภาพประกอบ, ตาราง.
LDR 02555nam 2200229 a 4500
005 20211123143710.0
008 440130s2542 th ad 000 0 tha d
08204‡a636.085‡bส16ก
1000_‡aสมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข.
24510‡aการเพิ่มคุณค่าทางอาหารของเยื่อในลำต้นสาคูเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ปีก โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์บางชนิด :‡bรายงานการวิจัย /‡cสมศักดิ์ เหล่าเจริญสุข...(และคณะ).
24630‡aรายงานการวิจัย.
260__‡aปัตตานี :‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,‡c2542
300__‡a33 หน้า :‡bภาพประกอบ, ตาราง.
520__‡aการเพิ่มคุณค่าทางอาหาร โดยเฉพาะปริมาณโปรตีนของเยื่อในลำต้นสาคูโดยวิธีการหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์บางชนิดเพื่อนำไปใช้เป็นอาหารของนกกระทาระยะเจริญเติบโตและระยะไข่ ได้ทำการศึกษาด้วยการแยกเชื้อยีสต์ที่พบในเยื่อในลำต้นสาคู พบว่ามีทั้งหมด 11 ชนิด แต่ที่ย่อยแป้งได้ดีทีเพียง 2 ชนิด ซึ่งเชื้อยีสต์สองชนิดดังกล่าว รวมทั้งเชื้อ Endomycopsisfibuligera กับ Swanniomyces alluvius TISTR 5164 ไม่สามารถจะเจริญได้ถ้าไม่นำเยื่อในสาคูไปผ่านการนึ่งเสียก่อน การพลิกกลับเชื้อทุกวันในระหว่างการหมัก จะช่วยเสริมให้เชื้อยีสต์เจริญได้ดีขึ้นในขณะที่การไม่พลิกกลับเชื้อมีการปนเปื้อนด้วยเชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่น การเติมยูเรียลงไปในเยื่อในสาคูปริมาณ 0.5% ช่วยเพิ่มจำนวนเชื้อยีสต์ได้ จึงส่งผลให้เยื่อในสาคูมีปริมาณโปรตีนสูงขึ้น โดยปริมาณโปรตีนที่เพิ่มขึ้นนี้จะแปรผันตามปริมาณเชื้อยีสต์ที่เติมลงไป กล่าวคือ ปริมาณโปรตีนจะเพิ่มขึ้นจาก 6.6 ไปเป็น 10.0-11.3% เมื่อเพิ่มจำนวนเชื้อยีสต์จาก 0 เป็น 25% หมักในเยื่อในสาคูนึ่งที่มีการเติมยูเรีย0.5% และกลับพลิกเชื้อระหว่างหมักทุกวัน ในการทดลองที่สองได้นำเยื่อในสาคูหมักด้วยยีสต์ดังกล่าว ไปใช้เลี้ยงนกกระทาอายุ 1 วัน จำนวน 450 ตัว นกทั้งหมดถูกแบ่งออกโดยสุ่มเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้ำ แต่ละกลุ่มเลี้ยงด้วยอาหารผสมเยื่อในสาคูหมักในสูตรอาหารระดับ0,10,15,20 และ25% ทำการทดลองนาน 6 สัปดาห์ ส่วนในนกกระทาไข่ได้ใช้นกกระทาจำนวน 225 ตัว แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มละ 3 ซ้ำ เพื่อให้นกแต่ละกลุ่มได้รับอาหารที่มีเยื่อในสาคูหมักผสมในสูตรอาหารระดับ 0,10,20,25 และ 30% เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ผลปรากฏว่านกกระทาในระยะเจริญเติบโตสามารถใช้เยื่อในสาคูหมักได้ถึงระดับสูงสุด(25%)โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิต(น้ำหนักตัวเพิ่ม อาหารที่กินและประสิทธิภาพการใช้อาหาร)อย่างไรก็ดีสำหรับในนกกระทาไข่ ผลผลิตไข่กลับลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อมีการใช้เยื่อในสาคูสูงกว่าระดับ 10%ส่วนน้ำหนักไข่และสีไข่แดงไม่พบความแตกต่างในทุกกลุ่มเมื่อใช้หรือไม่ใช้เยื่อในสาคูหมัก
536__‡aได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535.
650_7‡aสัตว์ปีก‡xอาหาร.
650_7‡aอาหารสัตว์.
650_7‡aสาคู.
7102_‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
850__‡aPSUJFK
852__‡aวิจัย.
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
30000001224827636.085 ส16ก ฉ.1RESEARCH COLLECTIONหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ รายงานการวิจัย (ชั้น 3)   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด