เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1082246    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องปัตตานี : การค้าและการเมืองการปกครองในอดีต / ครองชัย หัตถา.
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย.
Dewey Call #959.3 ค17ป 2541
ผู้แต่งครองชัย หัตถา
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
หัวเรื่องปัตตานี--ประวัติศาสตร์.
 ปัตตานี--การเมืองและการปกครอง.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : โครงการปัตตานีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2541
ชื่อเรื่องปัตตานี : การค้าและการเมืองการปกครองในอดีต / ครองชัย หัตถา.
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย.
Dewey Call #959.3 ค17ป 2541
ผู้แต่งครองชัย หัตถา
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : โครงการปัตตานีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2541
Detailภ.ต.
หมายเหตุหนังสือจำนวน 1 อยู่ชั้นวิจัย และ อีก 1 เล่ม อยู่ชั้นทั่วไป.
หัวเรื่องปัตตานี--ประวัติศาสตร์.
 ปัตตานี--การเมืองและการปกครอง.
ลักษณะทางกายภาพ269 หน้า :ภาพประกอบ, แผนที่.
LDR 02302nam 2200277 a 4500
005 20151030193313.0
008 990422s2541 th ab 000 0 tha d
08204‡a959.3‡bค17ป‡d2541
1000_‡aครองชัย หัตถา
24510‡aปัตตานี :‡bการค้าและการเมืองการปกครองในอดีต /‡cครองชัย หัตถา.
24630‡aรายงานการวิจัย.
260__‡aปัตตานี :‡bโครงการปัตตานีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,‡c2541
300__‡a269 หน้า :‡bภาพประกอบ, แผนที่.
500__‡aหนังสือจำนวน 1 อยู่ชั้นวิจัย และ อีก 1 เล่ม อยู่ชั้นทั่วไป.
520__‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาททางการค้าและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของปัตตานี เป็นการวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การพรรณนา วิเคราะห์ การนำเสนอรายงานใช้รูปแบบของการศึกษาภูมิศาสตร์เชิงประวัติ อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในมิติของพื้นที่และเวลา ผลการศึกษาพบว่า ปัตตานีมีบทบาททางการค้าและการเมืองการปกครองมาเป็นเวลานาน ปัตตานีมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมบนคาบสมุทรมลายู ซึ่งเป็นศูนย์กลางระหว่างตะวันออกกับตะวันตก (East-West Center)คือ จีนกับอินเดีย รวมทั้งอาหรับและเปอร์เซีย ปัตตานีเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางมาตั้งแต่สมัยลังกาสุกะ ชื่อ"ปาตานี"ปรากฎในเอกสารต่างประเทศมากมาย ปัตตานีในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21-23 ได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นศูนย์กลางการค้าและเป็นเมืองท่านานาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ บันทึกของกัปตันชาวอังกฤษ ในปี พ.ศ.2261 ระบุว่าท่าเรือปัตตานีเป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดสำหรับการค้าในย่านทะเลแถบนี้ นอกจากนี้ยังเป็นท่าเรือคู่ค้า (staple port) กับเมืองท่าสุรัต มะละบาร์ กัว โคโรมันเดล และเป็นท่าเรือสองพี่น้อง (sister port) กับท่าเรือฮิราโดะของญี่ปุ่น ปัตตานีในระยะนั้นมีการปกครองที่เข้มแข็งมีการจัดเก็บภาษีที่เป็นระบบและเป็นธรรมกับพ่อค้าทุกชาติ มีการดำเนินการด้านการทูตกับนานาประเทศ เมืองปัตตานีในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21-23 ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงของชาวมลายูและเป็นมหานคร (Metropolis) ของภูมิภาคนี้
651_7‡aปัตตานี‡xประวัติศาสตร์.
651_7‡aปัตตานี‡xการเมืองและการปกครอง.
653__‡aไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้).
7101_‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
850__‡aPSUJFK
852__‡aภ.ต.
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
30000000947790959.3 ค17ป 2541 ฉ.1SOUTHERN DATAหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ข้อมูลภาคใต้ (ชั้น 2)   ใช้ภายในห้องสมุด
30000001393515959.3 ค17ป 2541 ฉ.2RESEARCH COLLECTIONหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ รายงานการวิจัย (ชั้น 3)   อยู่บนชั้น
30000010313033959.3 ค17ป 2541 ฉ.3General Collectionหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด