เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1038287    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องเมืองโบราณยะรัง / สว่าง เลิศฤทธิ์.
Dewey Call #930.1 ส17ม 2531
ผู้แต่งสว่าง เลิศฤทธิ์
หัวเรื่องโบราณสถาน--ปัตตานี (ยะรัง).
 โบราณวัตถุ--ปัตตานี (ยะรัง).
ISBN9746053116
พิมพลักษณ์ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2531
ชื่อเรื่องเมืองโบราณยะรัง / สว่าง เลิศฤทธิ์.
Dewey Call #930.1 ส17ม 2531
ผู้แต่งสว่าง เลิศฤทธิ์
ISBN9746053116
พิมพลักษณ์ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2531
หัวเรื่องโบราณสถาน--ปัตตานี (ยะรัง).
 โบราณวัตถุ--ปัตตานี (ยะรัง).
ลักษณะทางกายภาพ59 หน้า :ภาพประกอบ.
LDR 01751nam 2200193 4500
005 20200729110206.0
008 200729s2531 th a 000 0 tha d
020__‡a9746053116
08204‡a930.1‡bส17ม‡d2531
1000_‡aสว่าง เลิศฤทธิ์
24510‡aเมืองโบราณยะรัง /‡cสว่าง เลิศฤทธิ์.
260__‡aปัตตานี :‡bศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2531
300__‡a59 หน้า :‡bภาพประกอบ.
520__‡aยะรัง เป็นชุมชนโบราณแห่งหนึ่งในจังหวัดปัตตานี อยู่บนทางหลวงเลข 410 มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดยะลา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศานาอิสลามและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเดิมยะรังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ลังกาสุกะ จากการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ชุมชนเมืองยะรังพบว่า ยะรังเป็นชุมชนที่มีความเจริญมาตั้งแต่สมัยอยุธยาในฐานะเป็นจุดศูนย์กลางสำคัญในการแลกเปลี่ยนพักถ่ายสินค้า แหล่งโบราณคดีที่สำคัญเมืองยะรัง 2 แหล่ง คือ แหล่งโบราณคดีบ้านประแว ซึ่งพบว่ามีชุมชนเข้ามาอาศัยอยู่ครั้งแรกประมาณสมัยศรีวิชัยตอนปลาย และเป็นเมืองรอบนอกของชุมชนยะรัง อีกแหล่งหนึ่งคือ แหล่งโบราณคดีบ้านวัด ซึ่งเชื่อว่าเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนแห่งนี้ ความเจริญของอาณาจักรสังกาสุกะแบ่งเป็น 3 ช่วงคือ สมัยแรกเริ่มราวพุทธศตวรรษที่ 10-12 เป็นชุมชนขนาดเล็ก สมัยกลางราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 เริ่มมีการติดต่อกับชุมชนภายนอกและสมัยปลายราวพุทธศตวรรษที่ 19-23 มีความเจริญถึงขีดสุดแต่ภายหลังเสื่อมลงเพราะมีเมืองท่าเมืองใหม่เจริญแทน โบราณวัตถุซึ่งค้นพบในบริเวณที่เคยเป็นศาสนสถานพบว่า เป็นโบราณวัตถุเกี่ยวกับพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู เป็นศิลปะทวาราวดี ศิลปะอมราวดี และศิลปะคุปตะ นอกจากนี้ยังพบว่าอาณาจักรลังกาสุกะมีการติดต่อค้าขายกับชาวจีน อินเดีย และอาหรับมากขึ้น ทำให้ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามมากขึ้นจนศาสนาพุทธเสื่อมความนิยมลง น.ค
650_7‡aโบราณสถาน‡zปัตตานี (ยะรัง).
650_7‡aโบราณวัตถุ‡zปัตตานี (ยะรัง).
653__‡aไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้).
850__‡aPSUJFK
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
30000000554745930.1 ส17ม 2531 c.1SOUTHERN DATAหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ข้อมูลภาคใต้ (ชั้น 2)   ใช้ภายในห้องสมุด
30000000554786930.1 ส17ม 2531 c.4jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000000554851930.1 ส17ม 2531 c.5jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000000554752930.1 ส17ม 2531 c.2jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด