เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1023601    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องประเพณีที่ช่วยส่งเสริมการผสมผสานทางสังคมระหว่างชาวไทยพุทธกับ ชาวไทยมุสลิม / ฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ, พีรยศ ราฮิมมูลา และ มานพ จิตต์ภูษา.
Dewey Call #390.9593 ฉ17ป
ผู้แต่งฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ
ผู้แต่งเพิ่มเติมพีรยศ ราฮิมมูลา, ผู้แต่งร่วม.
 มานพ จิตต์ภูษา, ผู้แต่งร่วม.
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
หัวเรื่องไทย(สี่จังหวัดภาคใต้)--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2524
ชื่อเรื่องประเพณีที่ช่วยส่งเสริมการผสมผสานทางสังคมระหว่างชาวไทยพุทธกับ ชาวไทยมุสลิม / ฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ, พีรยศ ราฮิมมูลา และ มานพ จิตต์ภูษา.
Dewey Call #390.9593 ฉ17ป
ผู้แต่งฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ
ผู้แต่งเพิ่มเติมพีรยศ ราฮิมมูลา, ผู้แต่งร่วม.
 มานพ จิตต์ภูษา, ผู้แต่งร่วม.
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2524
หัวเรื่องไทย(สี่จังหวัดภาคใต้)--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย.
ลักษณะทางกายภาพ151 หน้า. :ภาพประกอบ.
LDR 02666nam 2200253 4500
008 
08204‡a390.9593‡bฉ17ป
1000_‡aฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ
24510‡aประเพณีที่ช่วยส่งเสริมการผสมผสานทางสังคมระหว่างชาวไทยพุทธกับ ชาวไทยมุสลิม /‡cฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ, พีรยศ ราฮิมมูลา และ มานพ จิตต์ภูษา.
260__‡aปัตตานี :‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,‡c2524
300__‡a151 หน้า. :‡bภาพประกอบ.
520__‡aรายงานการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้าประเพณีต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) เพื่อให้ทราบข้อแตกต่างในด้านประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ซึ่งจะทำให้ชาวไทยทั้งสองกลุ่มมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และช่วยส่งเสริมตลอดจนอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น นำไปวิเคราะห์และเสนอแนะโดยถูกต้องตามหลักศาสนาทั้งสองฝ่าย อันก่อให้เกิดความมั่นคงในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ผู้วิจัยได้ทำการวิจัยขั้นสำรวจ (Exprloratory Research) โดยวิธีการศึกษาแบบสำรวจ (Survey Design) ประเภทเปรียบเทียบหลังเหตุการณ์ (Static-group comparison survey) ซึ่งใช้วิธีสุ่มตัวอย่างตามมุ่งหมาย (Purposive Sampling) จากชุมชนของชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๕ หมู่บ้าน เก็บข้อมูลโดยวิธีการสังเกตการณ์และสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน (Key Persons) ที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ ผลการศึกษาค้นพบว่า ประเพณีที่ช่วยส่งเสริมการผสมผสานทางสังคมในระดับสูงระหว่างชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ประเพณีการสมรส ประเพณีการเข้าสุหนัต ประเพณีวันเมาลิด และประเพณีการบวชของชาวไทยพุทธ ซึ่งสามารถสรุปเป็นสมมติฐานของแนวความคิดได้ว่า "ประเพณีที่มีพิธีกรรมทางสังคมมาก จะเป็นปัจจัยที่ช่วยให้มีการผสมผสานทางสังคมมาก ผลการศึกษา ผู้วิจัยได้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ เกี่ยวกับการจัดประเพณี การส่งเสริมการพัฒนาสาธารณประโยชน์ร่วมกัน ทางด้านการศึกษา ภาษา สภาพหมู่บ้าน และสภาพการปกครอง ซึ่งจะเป็นตัวกระตุ้นที่สำคัญ อันจะก่อให้เกิดการผสมผสานทางสังคมระหว่างชาวไทยทั้งสองกลุ่มขึ้นมา.
651_7‡aไทย(สี่จังหวัดภาคใต้)‡xความเป็นอยู่และประเพณี‡xวิจัย.
7000_‡aพีรยศ ราฮิมมูลา,‡eผู้แต่งร่วม.
7000_‡aมานพ จิตต์ภูษา,‡eผู้แต่งร่วม.
7102_‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
30000001782642390.9593 ฉ17ป c.1SOUTHERN DATAหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ข้อมูลภาคใต้ (ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000001782626390.9593 ฉ17ป c.2jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000001782659390.9593 ฉ17ป c.3jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000002771214390.9593 ฉ17ป c.6jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
30000001782634390.9593 ฉ17ป c.8jfkoหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ หนังสือทั่วไป (ตึกเก่า ชั้น 2)   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด